* คุณรู้หรือไม่ว่ากิจการประเภทใดเหมาะสมกับกิจการของคุณ
การเลือกประเภทกิจการให้เหมาะสมกับกิจการของคุณถือเป็นการเริ่มต้นที่สำคัญ คุณควรทำความเข้าใจกับประเภทกิจการต่าง ๆ ที่เหมาะสมกับกิจการของคุณ ได้แก่
* บุคคลธรรมดา เป็นเจ้าของกิจการคนเดียว หรือมีตั้งแต่ 2 คนขึ้นไปมาลงทุนและเป็นเจ้าของกิจการร่วมกัน (ห้างหุ้นส่วนสามัญ)
*นิติบุคคล แบ่งเป็น ห้างหุ้นส่วนสามัญนิติบุคคล ห้างหุ้นส่วนจำกัด บริษัทจำกัด และ บริษัทมหาชนจำกัด
คุณจำเป็นต้องเข้าใจถึงข้อดี ข้อเสียของกิจกการประเภทต่าง ๆ เพราะประเภทกิจการมีผลกระทบต่องโครงสร้างและการดำเนินกิจการ การเสียภาษี ความรับผิดชอบในหนี้สิน ตลอดจนขั้นตอนการจดทะเบียนและหลักเกณฑ์ที่ต่างกัน
วันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2554
วันศุกร์ที่ 29 เมษายน พ.ศ. 2554
คิดจะเริ่มธุรกิจ คุณเตรียมความพร้อมหรือยัง
ในการประกอบธุรกิจเป็นครั้งแรกคุณจะยังไม่รู้รายละเอียดมากนัก หรือรู้ก็ยังมีอีกหลายสิ่งอย่างที่ต้องการข้อมูลเพื่อมาประกอบในการตัดสินใจ เราสามารถแนะนำคุณได้ดังนี้
คำแนะนำและการให้ความช่วยเหลือด้านการประกอบธุรกิจ
*คุณรู้จักหน่วยงานของรัฐที่ให้คำแนะนำหรือให้ความช่วยเหลือด้านการประกอบธุรกิจหรือไม่
โลกปัจจุบันเป็นโลกยุคโลกาภิวัฒน์ที่มี่เทคโนโลยีทันสมัย อยู่ขั้วโลกไหนก็สามารถสื่อสารทั่วถึงกันหมด โดยเฉพาะการทำกิจการค้าและบริการที่มีการแข่งขันสูง เมื่อคุณเริ่มต้นทำธุกรกิจและไม่ว่าจะเป็นขนาดใด คุณจำเป็นต้องมีข้อมูลด้านต่าง ๆเพื่อประกอบการตัดสินใจคุณควรทราบหน่วยงานที่ให้คำปรึกษาเมื่อเริ่มต้นทำธุรกิจต่าง ๆ ขอคำแนะนำเบื้องต้นได้ที่ :
*ศูนย์ปรึกษาธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า สายด่วน 1570 หรือ www.dbd.go.th
*ศูนย์ให้คำปรึกษาธุรกิจระหว่างประเทศ กรมส่งเสริมการส่งออก Call Center 1169 or www.depthai.go.th
*สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) Call Center 0 2686 9111 www.sme.go.th
ครั้งหน้าจะมาให้รายละเอียดอื่น ๆ เพิ่มเติม
ที่มา กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
คำแนะนำและการให้ความช่วยเหลือด้านการประกอบธุรกิจ
*คุณรู้จักหน่วยงานของรัฐที่ให้คำแนะนำหรือให้ความช่วยเหลือด้านการประกอบธุรกิจหรือไม่
โลกปัจจุบันเป็นโลกยุคโลกาภิวัฒน์ที่มี่เทคโนโลยีทันสมัย อยู่ขั้วโลกไหนก็สามารถสื่อสารทั่วถึงกันหมด โดยเฉพาะการทำกิจการค้าและบริการที่มีการแข่งขันสูง เมื่อคุณเริ่มต้นทำธุกรกิจและไม่ว่าจะเป็นขนาดใด คุณจำเป็นต้องมีข้อมูลด้านต่าง ๆเพื่อประกอบการตัดสินใจคุณควรทราบหน่วยงานที่ให้คำปรึกษาเมื่อเริ่มต้นทำธุรกิจต่าง ๆ ขอคำแนะนำเบื้องต้นได้ที่ :
*ศูนย์ปรึกษาธุรกิจ กรมพัฒนาธุรกิจการค้า สายด่วน 1570 หรือ www.dbd.go.th
*ศูนย์ให้คำปรึกษาธุรกิจระหว่างประเทศ กรมส่งเสริมการส่งออก Call Center 1169 or www.depthai.go.th
*สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) Call Center 0 2686 9111 www.sme.go.th
ครั้งหน้าจะมาให้รายละเอียดอื่น ๆ เพิ่มเติม
ที่มา กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
วันพุธที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2554
เบี้ยปรับเงินเพิ่ม-ภาษีอากร เช่น ภพ.30 ภงด.1 ภงด.3 ภงด.53
อัตราค่าปรับในการยื่นแบบภาษี
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ 30)
1. ค่าปรับอาญา (ชำระเป็นเงินสดเท่านั้น)
* ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 300 บาท
* ยื่นแบบเกิน 7 วัน 500 บาท
2. เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5 % ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)
3. เบี้ยปรับ มี 2 กรณี คือ
กรณีไม่เคยยื่นแบบหรือยื่นเกินกำหนด
* ยื่นแบบไม่เกิน 15 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า*2%
* ยื่นเบบไม่เกิน 30 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า*5%
*ยื่นแบบไม่เกิน 60 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า*10%
* ยื่นแบบเกิน 60 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า* 20%
กรณียื่นเพิ่มเติมภายในกำหนดเวลา
*ยื่นแบบไม่เกิน 15 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า * 2%
*ยื่นแบบไม่เกิน 30 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า * 5%
*ยื่นแบบไม่เกิน 60 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า * 10%
*ยื่นแบบเกิน 60 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า * 20%
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ภงด.1. 3, 53)
1.ค่าปรับอาญา (ชำระเป็นเงินสดเท่านั้น)
* ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 100 บาท
* ยื่นแบบเกิน 7 วัน 200 บาท
2. เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภงด.50)
1.ค่าปรับอาญา
* ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 1,000 บาท
* ยื่นแบบเกิน 7 วัน 2,000 บาท
2.เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)
หมายเหตุ ในการยื่น ภงด.50 ถ้ายื่นล่าช้าจะมี่ค่าปรับ 2 ส่วน คือ ค่าปรับและเงินเพิ่มของกรมสรรพากร และอีกส่วนคือค่าปรับกรณียื่นงบการเงินล่าช้าที่กระทรวงพาณิชย์ อัตราค่าปรับกรณียื่นงบการเงินล่าช้าไม่เกิน 2 เดือนของกระทรวงพาณิชย์ จะมีอยู่ 2 ส่วน คือ ในส่วนของนิติบุคคลหรือบริษัทค่าปรับ 600 บาท ส่วนที่ 2 คือในส่วนของกรรมการค่าปรับ 600 บาท การชำระค่าปรับในกรณียื่นงบการเงินล่าช้าให้กระทรวงพาณิชย์ให้ดูในเรื่องของระยะเวลาที่ยื่นล่าช้าด้วย(ดูตารางแนบคะ)
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภงด.90, ภงด.91)
1.ค่าปรับอาญา
*ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 100 บาท
*ยื่นแบบเกิน 7 วัน 200 บาท
2.เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)
ที่มา: กรมสรรพากร และ กระทรวงพาณิชย์
http://www.rd.go.th/
http://www.dbd.go.th/
ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภพ 30)
1. ค่าปรับอาญา (ชำระเป็นเงินสดเท่านั้น)
* ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 300 บาท
* ยื่นแบบเกิน 7 วัน 500 บาท
2. เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5 % ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)
3. เบี้ยปรับ มี 2 กรณี คือ
กรณีไม่เคยยื่นแบบหรือยื่นเกินกำหนด
* ยื่นแบบไม่เกิน 15 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า*2%
* ยื่นเบบไม่เกิน 30 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า*5%
*ยื่นแบบไม่เกิน 60 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า*10%
* ยื่นแบบเกิน 60 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 2 เท่า* 20%
กรณียื่นเพิ่มเติมภายในกำหนดเวลา
*ยื่นแบบไม่เกิน 15 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า * 2%
*ยื่นแบบไม่เกิน 30 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า * 5%
*ยื่นแบบไม่เกิน 60 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า * 10%
*ยื่นแบบเกิน 60 วัน ภาษีที่ต้องชำระ 1 เท่า * 20%
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย (ภงด.1. 3, 53)
1.ค่าปรับอาญา (ชำระเป็นเงินสดเท่านั้น)
* ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 100 บาท
* ยื่นแบบเกิน 7 วัน 200 บาท
2. เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)
ภาษีเงินได้นิติบุคคล (ภงด.50)
1.ค่าปรับอาญา
* ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 1,000 บาท
* ยื่นแบบเกิน 7 วัน 2,000 บาท
2.เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)
หมายเหตุ ในการยื่น ภงด.50 ถ้ายื่นล่าช้าจะมี่ค่าปรับ 2 ส่วน คือ ค่าปรับและเงินเพิ่มของกรมสรรพากร และอีกส่วนคือค่าปรับกรณียื่นงบการเงินล่าช้าที่กระทรวงพาณิชย์ อัตราค่าปรับกรณียื่นงบการเงินล่าช้าไม่เกิน 2 เดือนของกระทรวงพาณิชย์ จะมีอยู่ 2 ส่วน คือ ในส่วนของนิติบุคคลหรือบริษัทค่าปรับ 600 บาท ส่วนที่ 2 คือในส่วนของกรรมการค่าปรับ 600 บาท การชำระค่าปรับในกรณียื่นงบการเงินล่าช้าให้กระทรวงพาณิชย์ให้ดูในเรื่องของระยะเวลาที่ยื่นล่าช้าด้วย(ดูตารางแนบคะ)
ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ภงด.90, ภงด.91)
1.ค่าปรับอาญา
*ยื่นแบบไม่เกิน 7 วัน 100 บาท
*ยื่นแบบเกิน 7 วัน 200 บาท
2.เงินเพิ่ม ชำระในอัตรา 1.5% ต่อเดือน (เศษของเดือนนับเป็น 1 เดือน)
ที่มา: กรมสรรพากร และ กระทรวงพาณิชย์
http://www.rd.go.th/
http://www.dbd.go.th/
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)